ท่านจะนำประเด็นต่อไปนี้ไปใช้ในการเป็นครูที่ดีได้อย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ1.การอยู่ร่วมกันในหอพักนักศึกษา
การอยู่ร่วมกันในชนหมู่มากควรปฏิบัติดังนี้
1. เมตตาช่วยเหลือ
2. เกื้อหนุนชี้นำ
3. ทำสิ่งมีประโยชน์ อภัยโทษ
4. มีของต้องแบ่งปัน
5. สร้างสรรค์ระเบียบวินัย
6. สมานสามัคคี
ตัวอย่างสถานะการณ์
ในหอพัก7วนาวันในทุกวันพุธมีการร่วมกันทำวคามสะอาดหอโดยทุกคนในหอมาร่วมกันทำความสะอาดด้วยความพร้อมเพรียงกัน
2.การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในฐานะที่เป็นนักเรียน นักศึกษาจึงมีความจำเป็นที่ต้องทำงานเป็นกลุ่ม ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องที่หลายคนไม่ค่อยพึงปราถนา แต่ก็สามารถทำให้เป็นเรื่องที่สนุกขึ้นมาได้ และผลงานที่ออกมายังมีประสิทธิผลอีกด้วย ในความเป็นจริงหลายๆคนคงทราบกันดีว่า การทำงานเป็นกลุ่มนั้นมีข้อดีมากมาย เช่น
1.สมาชิกในกลุ่มสามารถแสดงความดิดเห็นได้หลากหลาย
2.งานกลุ่มที่เกิดขึ้นนั้นมีความหลากหลายและน่าสนใจมากขึ้น เพราะสมาชิกในกลุ่มช่วยกันหาทางแก้ปัญหา (ซึ่งได้ดีกว่าทำงานเดี่ยว)
3.สมาชิกในกลุ่มสามารถช่วยเหลือ และกระตุ้นกันและกันในการทำงานได้
ตัวอย่างสถานะการณ์
การทำงานของกลุ่มที่1มีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยมีการรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มและยังยอมปรับปรุงหากพบจุดบกพร้อมของงานโดยไม่มีใครเกี่ยงกันทำงาน
3.หากเราทะเลาะกันจะนำหลักการมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ได้อย่างไร
หลักการมนุษย์สัมพันธ์
มนุษยสัมพันธ์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการใช้ศิลปะในการแสดงออกทางพฤติกรรมระหว่างกันของบุคคลในทุกระดับของสังคม ซึ่งจะต้องใช้วิธีการที่แตกต่างกัน ดังนั้นมนุษยสัมพันธ์จึงเป็นศาสตร์ที่ต้องอาศัยวิทยาการหลายสาขาวิชามาบูรณาการกัน หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ โดยทั่วไปแล้ว เราควรจะเริ่มต้นด้วยสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น
1. จงเห็นคุณค่าและความมีศักดิ์ศรีของมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน
2. จงมีทัศนคติที่ดีต่อมนุษย์ด้วยกันเห็นในความสำคัญของมนุษย์
3. จงเริ่มต้นจากตัวเราก่อน
4. จงเห็นคุณค่าและเหตุผลของผู้อื่น
5. จงแสดงความสัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยท่าทีที่เป็นมิตรสุภาพให้เกียรติต่อกัน
6. พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง การโต้เถียงในสิ่งที่ไม่ใช่สาระหรือประเด็นสำคัญ
7. มีความจริงและสุจริตใจกับผู้อื่นเสมอ ฯลฯ เทคนิควิธีมนุษยสัมพันธ์ในการสร้างมิตร
การแสวงหาวิธีการ ที่จะทำให้คนเรามีมนุษยสัมพันธ์มีความเป็นมิตรเกื้อกูลเอื้ออาทรกันนั้น มีหลักการช่วยส่งเสริมอยู่มากมาย ดังจะกล่าวพอสังเขปดังนี้
ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น
1. พรหมวิหาร 4 ประกอบด้วย
1. เมตตา ได้แก่ การมีเมตตาจิตคิดที่จะให้ผู้อื่นมีความสุข
2. กรุณา คือ คิดเอ็นดูจะช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
3. มุทิตา คือ มีความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
4. อุเบกขา คือ การวางตัวเป็นกลาง ไม่ลำเอียง
2. สังคหวัตถุ 4 ประกอบด้วย
1. ทาน คือ การแบ่งปันสิ่งของให้แก่ผู้อื่น
2. ปิยวาจา คือ การเจรจาไพเราะอ่อนหวาน ชวนฟัง
3. อัตถจริยา คือ การปฏิบัติตนอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลกัน
4. สมานัตตตา คือ การวางตัวสม่ำเสมอ และทำให้เข้ากับคนทั้งหลายได้
ตัวอย่างสถานะการณ์
ในหอพัก7วนาวันมีการทะเลอะกันแต่มเมื่อนำคู่กรณีมานั่งจับเข่าคุยกันแล้วบอกให้เขาทราบถึงเรื่องหลักมนุษยสัมพันธ์ทำให้คู่กรณีทั้งสองยอมปรับใจไม่โกรธกันแล้วเป็นเพื่อนที่ดีต่อกัน
4.แนวคิดเชิงบวกเป็นอย่างไร
คิดในทางที่ดี คิดในแง่ที่ดี ไม่คิดใส่ร้ายผู้อื่น
การอยู่ร่วมกันในชนหมู่มากควรปฏิบัติดังนี้
1. เมตตาช่วยเหลือ
2. เกื้อหนุนชี้นำ
3. ทำสิ่งมีประโยชน์ อภัยโทษ
4. มีของต้องแบ่งปัน
5. สร้างสรรค์ระเบียบวินัย
6. สมานสามัคคี
ตัวอย่างสถานะการณ์
ในหอพัก7วนาวันในทุกวันพุธมีการร่วมกันทำวคามสะอาดหอโดยทุกคนในหอมาร่วมกันทำความสะอาดด้วยความพร้อมเพรียงกัน
2.การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในฐานะที่เป็นนักเรียน นักศึกษาจึงมีความจำเป็นที่ต้องทำงานเป็นกลุ่ม ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องที่หลายคนไม่ค่อยพึงปราถนา แต่ก็สามารถทำให้เป็นเรื่องที่สนุกขึ้นมาได้ และผลงานที่ออกมายังมีประสิทธิผลอีกด้วย ในความเป็นจริงหลายๆคนคงทราบกันดีว่า การทำงานเป็นกลุ่มนั้นมีข้อดีมากมาย เช่น
1.สมาชิกในกลุ่มสามารถแสดงความดิดเห็นได้หลากหลาย
2.งานกลุ่มที่เกิดขึ้นนั้นมีความหลากหลายและน่าสนใจมากขึ้น เพราะสมาชิกในกลุ่มช่วยกันหาทางแก้ปัญหา (ซึ่งได้ดีกว่าทำงานเดี่ยว)
3.สมาชิกในกลุ่มสามารถช่วยเหลือ และกระตุ้นกันและกันในการทำงานได้
ตัวอย่างสถานะการณ์
การทำงานของกลุ่มที่1มีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยมีการรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มและยังยอมปรับปรุงหากพบจุดบกพร้อมของงานโดยไม่มีใครเกี่ยงกันทำงาน
3.หากเราทะเลาะกันจะนำหลักการมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ได้อย่างไร
หลักการมนุษย์สัมพันธ์
มนุษยสัมพันธ์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการใช้ศิลปะในการแสดงออกทางพฤติกรรมระหว่างกันของบุคคลในทุกระดับของสังคม ซึ่งจะต้องใช้วิธีการที่แตกต่างกัน ดังนั้นมนุษยสัมพันธ์จึงเป็นศาสตร์ที่ต้องอาศัยวิทยาการหลายสาขาวิชามาบูรณาการกัน หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ โดยทั่วไปแล้ว เราควรจะเริ่มต้นด้วยสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น
1. จงเห็นคุณค่าและความมีศักดิ์ศรีของมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน
2. จงมีทัศนคติที่ดีต่อมนุษย์ด้วยกันเห็นในความสำคัญของมนุษย์
3. จงเริ่มต้นจากตัวเราก่อน
4. จงเห็นคุณค่าและเหตุผลของผู้อื่น
5. จงแสดงความสัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยท่าทีที่เป็นมิตรสุภาพให้เกียรติต่อกัน
6. พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง การโต้เถียงในสิ่งที่ไม่ใช่สาระหรือประเด็นสำคัญ
7. มีความจริงและสุจริตใจกับผู้อื่นเสมอ ฯลฯ เทคนิควิธีมนุษยสัมพันธ์ในการสร้างมิตร
การแสวงหาวิธีการ ที่จะทำให้คนเรามีมนุษยสัมพันธ์มีความเป็นมิตรเกื้อกูลเอื้ออาทรกันนั้น มีหลักการช่วยส่งเสริมอยู่มากมาย ดังจะกล่าวพอสังเขปดังนี้
ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น
1. พรหมวิหาร 4 ประกอบด้วย
1. เมตตา ได้แก่ การมีเมตตาจิตคิดที่จะให้ผู้อื่นมีความสุข
2. กรุณา คือ คิดเอ็นดูจะช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
3. มุทิตา คือ มีความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี
4. อุเบกขา คือ การวางตัวเป็นกลาง ไม่ลำเอียง
2. สังคหวัตถุ 4 ประกอบด้วย
1. ทาน คือ การแบ่งปันสิ่งของให้แก่ผู้อื่น
2. ปิยวาจา คือ การเจรจาไพเราะอ่อนหวาน ชวนฟัง
3. อัตถจริยา คือ การปฏิบัติตนอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลกัน
4. สมานัตตตา คือ การวางตัวสม่ำเสมอ และทำให้เข้ากับคนทั้งหลายได้
ตัวอย่างสถานะการณ์
ในหอพัก7วนาวันมีการทะเลอะกันแต่มเมื่อนำคู่กรณีมานั่งจับเข่าคุยกันแล้วบอกให้เขาทราบถึงเรื่องหลักมนุษยสัมพันธ์ทำให้คู่กรณีทั้งสองยอมปรับใจไม่โกรธกันแล้วเป็นเพื่อนที่ดีต่อกัน
4.แนวคิดเชิงบวกเป็นอย่างไร
คิดในทางที่ดี คิดในแง่ที่ดี ไม่คิดใส่ร้ายผู้อื่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น